ตรวจสอบและทบทวน
ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขึ้นการประเมินการเรียนรู้อิงมาตรฐานปฏิบัติการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้ซึ่งอาจใช้แนวทางการกำหนดระดับคุณภาพของสมรรถนะตามแนวคิด
Solo taxonomy การเรียนรู้อย่างลุ่มลึกไม่ใช่เรียนแบบผิวเผินๆหรือแนวทางอื่นๆ
การประเมินการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
โดยใช้แนวทางการกำหนดระดับคุณภาพของสมรรถนะตามแนวคิดSolo taxonomy
วิธีการวัดและประเมินผล
รายการที่ประเมิน
|
||||
1.Pre-structural
(ระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐาน)
|
2.Uni
-structural (ระดับมุมมองเดียว)
|
3. Multi-structural (ระดับหลายมุมมอง)
|
4.Relational (ระดับเห็นความสัมพันธ์)
|
5.Extendedabstract (ระดับขยายนามธรรม)
|
ผู้เรียนจะยังคงไม่เข้าใจจุดมุ่งหมายที่แท้จริง
และยังคงใช้วิธีการง่ายๆในการทำความเข้าใจสาระเนื้อหา เช่น
ผู้เรียนรับทราบแต่ยังคงพลาดประเด็นที่สำคัญ
|
คือ
การตอบสนองของผู้เรียนจะมุ่งไปที่มุมมองที่เกี่ยวข้องเพียงมุมมองเดียว เช่น
สามารถระบุชื่อได้ จำได้ และทำตามคำสั่งง่ายๆได้
|
การตอบสนองของผู้เรียนจะมุ่งเน้นไปที่หลายๆมุมมองโดยการปฏิบัติต่อผู้เรียนจะเป็นไปอย่างอิสระ
เช่น สามารถอธิบายได้ ยกตัวอย่างได้ หรืออาจเชื่อมโยงได้
|
การบูรณาการความสัมพันธ์ต่างๆเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
เช่น ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ระบุความแตกต่าง แสดงความสัมพันธ์
อธิบายเชิงเหตุผล และ/หรือนำไปใช้ได้
|
นักเรียนเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาเข้าด้วยกัน
จากนั้นจึงมาสู่การสร้างเป็นแนวคิดนามธรรมขั้นสูง หรือการสร้างทฤษฎีใหม่ เช่น
การสร้างสรรค์ สะท้อนแนวคิด สร้างทฤษฏีใหม่ เป็นต้น
|
หมายเหตุ
เกณฑ์การให้คะแนน
1.
Pre-structural (ระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐาน) คือ ถ้าผู้เรียนอยูในระดับ
Pre-structural จะได้ 1-2คะแนน
2. Uni-structural (ระดับมุมมองเดียว) คือ ถ้าผู้เรียนอยูในระดับ
Uni-structural จะได้ 3-4 คะแนน
3. Multi-structural (ระดับหลายมุมมอง) คือ ถ้าผู้เรียนอยูในระดับ
Multistructural จะได้ 5-6 คะแนน
4. Relational (ระดับเห็นความสัมพันธ์) คือ ถ้าผู้เรียนอยูในระดับ
Relational จะได้
7-8
คะแนน
5. Extendedabstract (ระดับขยายนามธรรม) คือ ถ้าผู้เรียนอยูในระดับ Relational จะได้ 9-10 คะแนน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น